อรหัตตภูมิ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมณะที่ ๔ เป็นไฉน ภิกษุในศาสนานี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติอันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยอภิญญาของตนเอง เข้าถึงทิฏฐธรรมอยู่ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลเช่นนี้คือสมณะที่ ๔ ในพระพุทธศาสนา
คิดผิดคิดใหม่ได้ (๓)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กาล ๔ อย่างที่บุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ กาล ๔ นี้คือ การฟังธรรมตามกาล การสนทนาตามกาล การสงบตามกาล และการพิจารณาตามกาล กาล ๔ อย่างนี้ อันบุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ
วัดพระธรรมกายเอกเกอร์ซุนด์ จัดพิธีบูชาข้าวพระ
วัดพระธรรมกายเอกเกอร์ซุนด์ ประเทศนอร์เวย์ ได้จัดพิธีบูชาข้าวพระออนไลน์ ทั้ง Facebooklive และ ไลน์กลุ่ม
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๔ )
เรามักจะเห็นเศรษฐีที่ตระหนี่ในการบริจาค แต่ตัวเองใช้จ่ายอย่างสุรุ่ยสุร่าย แม้ของกินของใช้จะแพงแค่ไหน ก็กล้าทุ่มเงินซื้อหามา แสวงหาเครื่องอำนวยความสะดวกต่างๆ ให้คนเขาชื่นชมว่า ตัวเองเป็นคนรํ่ารวย แต่เศรษฐีท่านนี้กลับตระหนี่เป็นอย่างมาก จึงเป็น สิ่งที่พวกเราควรศึกษาว่า ทำอย่างไร ท่านจึงจะเป็นคนรวย ทั้งทรัพย์และน้ำใจ รวยทั้งภพนี้และทุกภพทุกชาติ
ศาสดาเอกของโลก (๔)
แต่...ไม่มีใครรู้ว่าสันติสุขที่แท้จริงนั้นอยู่ที่ไหน จะเข้าถึงได้อย่างไร จนกระทั่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงค้นพบว่า การที่จะทำให้เกิดสันติสุขที่แท้จริง
รางวัลโครงการสอบตอบปัญหาธรรมะ "ทางก้าวหน้า" ครั้งที่ 29
ขอแสดงความยินดี กับท่านอาจารย์และนักเรียนทุกคนที่สอบได้รางวัลการตอบปัญหาธรรมะ “ทางก้าวหน้า” ครั้งที่ 29 นี้และที่สำคัญคือขอแสดงความยินดีกับผู้เข้าร่วมโครงการฯ ทุกท่านที่ได้ศึกษาธรรมะอันประเสริฐและทรงคุณค่ายิ่งขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการดำเนินชีวิตของผู้เข้าร่วมโครงการฯ
วัดพระธรรมกายคานากาว่า จัดปฏิบัติธรรมพิเศษสุดสัปดาห์
วัดพระธรรมกายคานากาว่า ประเทศญี่ปุ่น ได้จัดปฏิบัติธรรมพิเศษสุดสัปดาห์
คุณสมบัติของผู้บวชในพระพุทธศาสนา
ในช่วงฤดูร้อนของทุกปีจะมีโครงการบรรพชาและอุปสมบทหมู่ภาคฤดูร้อนทั่วประเทศ ซึ่งเป็นโอกาสที่เหล่ากุลบุตรจะได้เข้ามาศึกษาเรียนรู้ธรรมะและปฏิบัติธรรมเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต และเพื่อการเป็นพุทธบริษัท ๔ ที่ดี
7 ขวบ เรียนจบ 18 สาขา ภายใน 7 วัน - พุทธประวัติ
พุทธประวัติ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๔)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) ได้นำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนามาอย่างต่อเนื่องประจำทุก ๆ เดือนผ่านมาได้ ๓ ฉบับแล้ว แต่การเผยแผ่พระพุทธศาสนายังมีเรื่องราวอีกมาก ในฉบับนี้ผู้เขียนจึงขอนำเสนอ ประวัติของเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนา ต่อเนื่องจากฉบับที่แล้ว